Monday, July 20, 2015

แบบประเมิณวิชา เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์

1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม  
=ทำให้มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
2.ด้านความรู้
= ทำเกิดความเพียรพยายามในการเรียนรู้
3.ด้านปัญญา
= เกิดการฝึกฝนทักษะต่างๆ รู้จัดคิดและนำเสนอ
4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
= สามารถแลกเปลี่ยนความคิดกับเพื่อน
ในเรื่องที่เรียน
5.ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
= ต้องฝึกการจดจำเครื่องมือต่างๆในการปรับ
แต่งและคำศัพท์ต่างๆ
6.ด้านทักษะวิชาชีพ 
= สามารถนำไปจัดทำเป็นสื่อออนไลท์
ของตนเองได้
7.ดังหลักฐานแสดงคือ
   นางสาวชิดชนก   สุภาพ 
   รหัส 5621301109 กลุ่ม201   ออกแบบนิเทศศิลป์(ค่ำ)

1.เว็บบล็อกสรุปผลการเรียนรู้ของตนเอง
    URL:http://artd3305-chidchnok.blogspot.com
2.เว็บบล็อกสรุปผลการเรียนรู้เว็บเทคโนโลยีเวิร์ดเพรสบล็อก     
    URL: http://artd3305chidchnok.wordperss.com
3.เว็บบล็อกมีส่วนร่วมบริการความรู้และออกแบบเว็บบบล็อกกับผู้สอนให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
    URL:http:// Hongmon.blgogspot.com
สื่อหนังสือออนไลท์ที่จัดทำ    
    URL:http://issuu.com/chidchnok.cs/docs

Tuesday, June 30, 2015

การศึกษาการใช้โปรแกรมจาก Chrom

คำนำ
รายงานนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา ARTD 3305 เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ และเพื่อแสดงการใช้และการฝึกทักษะ การใช้ Chorm ในการค้นหาโปรแกรมเสริมด้านต่างๆ และเรียนรู้และจัดทำเป็นเอกสารเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อื่นที่มีความสนใจ ได้เรียนรู้และฝึกทักษะตามจากเอกสารที่ได้จัดทำขึ้น
เอกสารที่ได้จัดทำขึ้นนี้เกี่ยวกับการใช้ Chorm ค้นหาโปรแกรม Drawing
ตั้งแต่ขั้นตอนการค้นหา การเข้ามาติดตั้ง และการใช้งานในด้านต่างๆ หากเอกสารที่ได้จัดทำขึ้นนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ทางผู้จัดทำขอความอนุเคราะท่านอาจารย์อภัยมา ณ ที่นี้ด้วยค่ะ


ด้วยความเคารพอย่างสูง
นางสาว ชิดชนก สุภาพ
รหัส 5621301109 (สมทบค่ำ)   



Monday, June 22, 2015

สรุปการเรียนการสอนสัปดาห์ที่3

การใส่ Background ให้กับ Blogspot


วิธีการดังนี้

1.จาก Pattern ที่อาจารย์ได้ให้ไว้ขึ้นมา 1 อัน นำมาเปลี่ยนให้กับบล็อกของเรา โดยใช้ขนาดที่ 1600 x 1800 px และไม่ให้ไฟล์เกิน 300 Kb 
2.แล้วไปที่ File > Save for Web ปรับความละเอียดให้ไม่เกิน 300 Kb แล้ว Save 
3.จากนั้นล็อกอินเข้าไปที่บล็อกของเรา เข้าไปตั้งค่าที่ Template > Customize > Background > Upload Image >เลือกภาพที่เราทำไว้ > แล้วกด Done
4.เสร็จแล้วปรับตั้งค่าโดยเลือกให้ภาพอยู่กึ่งกลางของบล็อก ปรับ Alignment ให้อยู่จุดกลาง > ช่องที่ 2 เลือกให้เป็น Don’t tile และติ๊กถูกที่ช่อง Scroll with page เพื่อไม่ให้ภาพเลื่อนตามบล็อกลงมา หรือจะไม่ติ๊กถูกก็ได้ แล้วกด Apply to Blog ได้เลย
5.เสร็จเรียบร้อย เราก็ํ Save for Wab ก็จะได้ Background ที่เราทำไว้มาใช้ในบล็อกของเรา

Saturday, June 6, 2015

สัปดาห์ที่2

วันอังคารที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2558


                พูดถึงเทคโนโลยีการออกแบบนิเทศศิลป์มีองค์ประกอบอะไร ---> ทำให้คอมพิวเตอร์เป็นตัวที่ทำหน้าที่อะไร ---> คำนวนแล้วให้อะไรออกมาต้องรู้ระบบของคอมพิวเตอร์
                   การออกแบบก็เช่นกันไม่ว่าจะเป็นงานนิเทศ---> ก็จะต้องรู้ว่ามีเจตนาอะไร---> เพื่ออะไร
                    
               1. Techono + logy = วิทยาศาสตร์ (การคิดค้นทดลองเป็นจิงพิสูจน์ได้
เทคนิค วิธี + ศาสตร์ เนื้อหาที่สูจน์ได้ มีเหตุผล
การปฎิบัติ + กระบวนการ + มีลำดับขั้นตอนจริง 
2. Visual Communication Design (การออกแบบนิเทศศิลป์)
การสื่อสารที่มองเห็น + ออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ มีเนื้อหาพิสูจน์ได้ มีเหตุมีผล
การปฎิบัติ + กระบวนการ + มีลำดับขั้นตอนจิง  
      
           
การสื่อสารและการตีความหมาย
1. Predict = ทักษะการคาดการณ์
2. Eliminate = การตัดออกหรือเลือกเฉพาะที่ถูกต้อง
3. Keywords = คำสัมพันในการค้นหา " การจับประเด็น" 
เกิดจากการสื่อสารและการเรียนรู้ การได้ยินและได้ฟัง มีการคิดค้นอัตลักษ์ภาษา
(มาเลเซียไม่มีรูปภาษาที่เป็นของตัวเอง) 

สาร = มีผู้ส่งสาร ---> ตัวกลาง ---> ผู้รับสาร

แผนผังความคิด





ว็บการทดสอบภาษาอังกฤษ : www.humankm.blogspot.com 
เว็บสเก็ตงานแบบต่างๆ : www.skctch-a-day.com 

                    

Tuesday, June 2, 2015

ความหมายของเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์

เทคโนโลยี(TECHNOLOGY)

เทคโนโลยี หรือ ประยุกต์วิทยา หรือ เทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึง การนำความรู้ทางธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่างๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น เทคโนโลยีก่อเกิดผลกระทบต่อสังคมและในพื้นที่ที่มีเทคโนโลยีเข้าไปเกี่ยวข้องในหลายรูปแบบ เทคโนโลยีได้ช่วยให้สังคมหลาย ๆ แห่งเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจมากขึ้นซึ่งรวมทั้งเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน ในหลาย ๆ ขั้นตอนของการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีได้ก่อให้ผลผลิตที่ไม่ต้องการ หรือเรียกว่ามลภาวะ เกิดการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติและเป็นการทำลายสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีหลาย ๆ อย่างที่ถูกนำมาใช้มีผลต่อค่านิยมและวัฒนธรรมของสังคม เมื่อมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ เกิดขึ้นก็มักจะถูกตั้งคำถามทางจริยธรรมเทคโนโลยีก่อเกิดผลกระทบต่อสังคมและในพื้นที่ที่มีเทคโนโลยีเข้าไปเกี่ยวข้องในหลายรูปแบบ เทคโนโลยีได้ช่วยให้สังคมหลาย ๆ แห่งเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจมากขึ้นซึ่งรวมทั้งเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน ในหลาย ๆ ขั้นตอนของการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีได้ก่อให้ผลผลิตที่ไม่ต้องการ หรือเรียกว่ามลภาวะ เกิดการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติและเป็นการทำลายสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีหลายๆ อย่างที่ถูกนำมาใช้มีผลต่อค่านิยมและวัฒนธรรมของสังคม เมื่อมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ เกิดขึ้นก็มักจะถูกตั้งคำถามทางจริยธรรม

ความหมายของเทคโนโลยี

คำว่า เทคโนโลยี ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า"Technology" ซึ่งมาจากภาษากรีกว่า"Technologia" แปลว่าการกระทำที่มีระบบ อย่างไรก็ตามคำว่า เทคโนโลยี มักนิยมใช้ควบคู่กับคำว่า วิทยาศาสตร์ โดยเรียกรวมๆว่า "วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (2539 : 406) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยี คือ "วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนำเอาวิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม" พระบาทสมเด็พระเจ้าอยู่หัวทรงกล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีเป็นภาษาง่ายๆว่า หมายถึง การรู้จักนำมาทำให้เป็นประโยชน์นั่นเอง (เย็นใจ เลาหวณิช. 2530 : 67)

เมื่อกล่าวถึงเทคโนโลยี ผู้คนส่วนใหญ่อาจนึกถึงเครื่องมือเครื่องจักรเชิงกลหรืออิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย แต่ความเป็นจริงคือ เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับการดำรงชีวิตของมนุษย์มาเป็นเวลานานตั้งแต่ยุคประวัติศาสตร์ เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่มนุษย์นำความรู้จากธรรมชาติวิทยามาคิดค้นและดัดแปลงธรรมชาติเพื่อก การชลประทาน การก่อสร้าง การทำเครื่องมือเครื่องใช้ การทำเครื่องปั้นดินเผา การทอผ้า เป็นต้น ปัจจัยการเพิ่มจำนวนของประชากร ข้อจำกัดด้านทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งการพัฒนาความสัมพันธ์กับต่างประเทศ เป็นปัจจัยสำคัญในการนำและการพัฒนาเทคโนโลยีมาใช้มากขึ้นเทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์กันมาก เทคโนโลยีเกิดจากพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ถ่ายทอดมาจากปรแก้ปัญหาพื้นฐานในการดำรงชีวิต ในระยะแรกเทคโนโลยีที่นำมาใช้เป็นระดับพื้นฐานอาทิ การเพาะปลูะเทศตะวันตก ซึ่งศึกษาค้นคว้าทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ยุคปฏิวัติวิทยาศาสตร์ (คริสต์ศตวรรษที่ 16-17) ทำให้การพัฒนาเทคโนโลยีเจริญก้าวหน้าควบคู่ไปกับวิทยาศาสตร์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่เกิดจากการสังเกตปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ คือการพยายามที่อธิบายว่าทำไมจึงเกิดอย่างนั้น แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์และทฤษฎีเพื่อถ่ายทอดและสอนให้ผู้อื่นได้ศึกษาและพัฒนาส่วนในความหมายของเทคโนโลยีเป็นการประยุกต์ เอาวิทยาศาสตร์มาใช้ ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ เทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ประดิษฐ์สิ่งของให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่วนที่เป็นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของเทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยีจะขึ้นอยู่กับปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็นสินค้ามีการซื้อขาย ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นสมบัติส่วนรวมของชาวโลก มีการเผยแพร่โดยไม่มีการซื้อขายแต่อย่างใดกล่าวโดย สรุปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดขึ้นโดยมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นฐานรองรับ บทบาทของเทคโนโลยีต่อการพัฒนาประเทศไทยได้เล็งเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาเป็นลำดับ ฃ ปัจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทต่อการพัฒนาอย่างมาก กล่าวโดยสรุปดังนี้

1.เทคโนโลยีกับการพัฒนาอุตสาหกรรม การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิต ทำให้ประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มขึ้น ประหยัดแรงงาน ลดต้นทุนและ รักษาสภาพแวดล้อม เทคโนโลยีที่มีบทบาทในการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย เช่น คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การสื่อสาร เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุกรรม วิศวกรรม เทคโนโลยีเลเซอร์ การสื่อสาร การแพทย์ เทคโนโลยีพลังงาน เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ เช่น พลาสติก แก้ว วัสดุก่อสร้าง โลหะ

2.เทคโนโลยีกับการพัฒนาด้านการเกษตร ใช้เทคโนโลยีในการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ เป็นต้น เทคโนโลยีมีบทบาทในการพัฒนาอย่างมาก แต่ทั้งนี้การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาจะต้องศึกษาปัจจัยแวดล้อมหลายด้าน เช่น ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ความเสมอภาคในโอกาสและการแข่งขันทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เกิดความ ผสมกลมกลืนต่อการพัฒนาประเทศชาติและส่วนอื่น ๆ อีกมากในทางเศรษฐศาสตร์ มองเทคโนโลยีว่าเป็นความรู้ของมนุษย์ ณ ปัจจุบัน ในการนำเอาทรัพยากรมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ (รวมถึงความรู้ว่าเราสามารถผลิตอะไรได้บ้าง) ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จะเกิดขึ้นเมื่อความรู้ทางเทคนิคของเราเพิ่มขึ้น

วิทยาการและความล้ำหน้าทางเทคโนโลยี

ปัจจุบันเทคโนโลยีได้เป็นที่สนใจของคนทุกมุมโลกทุกสาขา เทคโนโลยีจึงเป็นที่แพร่หลายและนำมาใช้ในการทำงานและชีวิตประจำวัน การเรียนการศึกษาในสมัยนี้จึงมีหลักสูตรที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีเข้าไปด้วย เทคโนโลยีที่ล้ำหน้าที่สุดที่คนทั่วโลกให้ความสำคัญคือเทคโนโลยีสารสนเทศ เพราะปัจจุบันนี้อุปกรณ์หลายชนิดก็ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ มือถือ อินเทอร์เน็ต PDA GPS ดาวเทียม และไม่นานมานี้มีการออกพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นการบ่งบอกว่าสังคมให้ความสำคัญแก่คอมพิวเตอร์ ที่มา :http://www.th.wikipedia.org/wiki/ และ http://www.kroobannok.com/50

ออกแบบนิเทศศิลป์

คำว่า “นิเทศ” นั้นมาจากคำว่า “นิเทศศาสตร์” ซึ่งหมายถึงวิชาการที่ว่าด้วยการสื่อสารมวลชนและประชาสัมพันธ์ เมื่อรวมกับคำว่า “ศิลป์ ” และคำว่า “ออกแบบ” จึงได้ความหมายของ “การออกแบบนิเทศศิลป์ ” ว่า การออกแบบทางศิลปะที่เกี่ยวกับการสื่อสาร การออกแบบสื่อที่จะใช้ในการสื่อสาร และการสร้างสรรค์รูปแบบการสื่อสารอย่างมีศิลปะ (ฉลอง สุนทรนนท์, 2547)

สรุปความหมายของเทคโนโลยีการออกแบบนิเทศน์ศิลป

การใช้เทคโนโลยีทางอินเทอร์เน็ตหรือเครื่องจักรกลเพื่อการออกแบบสื่ออย่างมีศิลปะ ก่อให้เกิดความพึงพอใจกับตนเอง ทำให้สื่อมีการพัฒนาในด้านรูปธรรม เป็นประโยชน์ และคุณค่าต่อสังคม หรือกลุ่มเป้าหมายของสื่อนั้นๆ ได้เป็นอย่างดี

Monday, June 1, 2015

ประวัติผู้จัดทำบล็อค



ชื่อ-สกุล:  นางสาวชิดชนก  สุภาพ
วัน/เดือน/ปีเกิด: 26 มกราคม พ.ศ. 2529
สถานที่เกิด: กรุงเทพมหานคร
สถานที่อยู่ปัจจุบัน: 8/12 ซ.พึ่งมี22 ถ.สุขุมวิท93 แขวงบางจาก                                 เขตพระโขนง กทม.10260
การศึกษา: ปริญญาตรี สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศ                      ศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Blogspot: artd3305-chidchnok.blogspot.com
E-mail: chidchnok.cs@gmail.com
Facebook: facebook.com/chidchnok suparp


แปลข่าว

  An Exclusive Early Look At 

The New Google Photos App


We've been hearing for a very long time - virtually ever since Vic Gundotra left Google+, with more rumors springing up recently - that Photos would be splitting off from Google's social/sign-in platform. We've heard vague rumblings, and even seen some baby steps toward this split, but now we have something a bit more substantial to go on - an exclusive early look at Google's new Photos app, separate from Google+ and improved in a number of ways.

We won't be treating this as a normal rumor post, because we are certain that what we have seen is the real deal. As with any leak or rumor however, details can change. Features or interfaces we'll look at might be different by the time the new, separate Photos app is announced, but overall this should be a good representation of what can be expected from the new app.


Disclaimer: No matter the confidence level, there's always a chance product updates, features, and some or all details will be changed or cancelled altogether. As with all rumors, nothing is 100% until it's officially announced.We do not have possession of any APKs we can distribute or unreleased devices, so please don't ask for them.

When starting up the new Photos app, users will be greeted with the awesome pinwheel animation seen above as part of a splash screen. Splash screens aren't traditionally used on Android because they aren't strictly necessary, but Google has been having a lot of fun with icon motion lately, which may explain its presence. Next, of course, is the first-run experience. As with most Google apps these days, Photos explains itself up front in a series of friendly, animated illustrations. The user can then fiddle with some backup settings before being ushered to a few more illustrations




Most of the app's functionality is given away in the above screens. The app, like its current iteration, will let users search for specific people, animals, or objects, back up photos automatically, and take care of general photo management. Beyond that, the app gets a revised interface with several "views" to choose from. Users can see their photos sorted by day or month, or a "comfortable view" which tiles photos by day in a staggered grid sort of like Google+ photo albums on the web do now.




The app also has a few new interactions, including the ability to pinch your way into photos, or swipe out of them.



Autoawesome has ostensibly been replaced by the new "Assistant" feature, which - besides automatically creating stories and animations - allows users to create their own goodies including albums, movies, stories, animations, or collages. Previously, the only awesome items users could manually create were movies, gifs, or "mixes" which were collages of 2 to 9 photos.
The editing interface has also gotten a facelift. There are still filters and usual adjustments, but the cropping interface now snaps to various aspect ratios, and has a nice new rotation wheel.
And as for access to your photos outside the app? photos.google.com (which for now redirects toplus.google.com/photos) will provide access to a new photos interface, but beyond that we can't be sure what's still in store. Even as a regular Google+ user, the most exciting aspect of the new Photos app for this writer is its separation from the Google+ app (the new app will replace the Photos shortcut). Of course it's worth noting again that - as with any leak - anything can happen before the new Photos app is introduced, but we can at least be sure it won't be confusingly tied with Google+ anymore. Here's hoping for some official news at I/O.


แปลสรุปได้ใจความสำคัญดังนี้
เตรียมปรับโฉม Google Photos App

เว็บไซร์ Android Police ได้เผยแผ่ภาพหลุดเกี่ยวกับแอพ Google Photos ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในมือถือ Android และผู้ใช้ทั่วไปที่มีแอพ Google Photos สามารถใช้งานผ่านทางเว็ปไซต Google Plus Photos ได้ แต่ภาพที่ได้เห็นนี้ลือกันว่าอาจได้เผยโฉมในงาน Google I/O ที่จัดขึ้นในวันที่ 28/29 พฤษภาคมนี้ด้วย โดยแอพ Google Photos แบบใหม่นี้สามารถแท็กภาพแบบแยกวัตถุหลายชนิด ได้โดยอัตโนมัติ,จัดกลุ่มรูปภาพตามลำดับเหตุการณ์ได้,ปรับโหมดการหารูปภาพในแบบต่างๆ ทำให้เราหาภาพได้ง่ายขึ้นและฟีเจอร์เด็ดบน Google+Photos อย่าง Autoawesome จะเปลี่ยนชื่อเป็น Assistant ที่จะสามารถจัดอัลบัมภาพให้เป็นเรื่องราว และสร้างเป็นสไสล์แอนิเมชั่นอัตโนมัติด้วย หน้าตาใหม่ของ Google Photos นี้รายละเอียดต้องติดตามในงาน Google I/O และใครที่ใช้งาน Google Photos ทั้งในระบบ iOS และ Android เตรียมตัวรอของใหม่ผ่านการอัพเดตแอพได้เลย